ฝ่ายบริการวิชาการและกิจกรรมพิเศษ

เป้าหมาย

1. มีโครงการเพื่อเผยแพร่กระบวนการโอลิมปิกที่มีคุณภาพ และเป็นความต้องการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกโครงการ

2. มีโครงการที่เป็นความร่วมมือกับหน่วยงานที่ทำ MOU กับ NOCT และ TOA

3. เกิดการประสานความร่วมมือระหว่าง TOA และหน่วยงานอื่นในการบูรณาการโครงการ หรือหลักสูตรการอบรม, กิจกรรมเชิงบูรณาการมากขึ้น

กลยุทธ์

1. สร้างค่านิยมและเป้าหมายร่วมกันในการเผยแพร่กระบวนการโอลิมปิกสู่การปฏิบัติ

2. การพัฒนาโครงการและกิจกรรมเพื่อการเผยแพร่กระบวนการโอลิมปิกให้เป็น สากลนิยม ร่วมสมัย และทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน

3. ส่งเสริมการผลิตสื่อและเอกสารเพื่อเผยแพร่กระบวนการโอลิมปิก

4. การสร้างระบบติดตามและประเมินผล การปฏิบัติกิจกรรมบริการวิชาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

โครงการ

1. จัดกิจกรรมเนื่องในโอกาสวันโอลิมปิก “Olympic Day” ประจำปี

2. จัดกิจกรรม Olympic Culture and Education Youth Camp (OCEYC)

3. จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ถอดรหัสโอลิมปิกศึกษาเพื่อพัฒนาเยาวชน กับโรงเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา”

4. จัดกิจกรรมเพื่อเผยแพร่กระบวนการโอลิมปิกในงาน “Sport Expo”

ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์

เป้าหมาย

1. สร้างความร่วมมือระหว่างสื่อมวลชนทางด้านกีฬากับสถาบันวิทยาการโอลิมปิคไทย

2. ให้ความรู้ความเข้าใจในกระบวนการโอลิมปิกในประเทศไทยกับสื่อมวลชนทางด้านกีฬา

3. สื่อมวลชนทางด้านกีฬาสนับสนุนกิจกรรมของสถาบันโอลิมปิคไทยอย่างต่อเนื่อง

กลยุทธ์

1. เชิญชวนสื่อมวลชนทางด้านกีฬาเข้ามาร่วมทำงานกับสถาบันวิทยาการโอลิมปิคไทย

2. ส่งเสริมให้สื่อมวลชนทางด้านกีฬาเข้าร่วมในกิจกรรมของสถาบันวิทยาการโอลิมปิคไทย

3. จัดสัมมนาให้สื่อมวลชนทางด้านกีฬากับบุคลากรที่เกี่ยวข้องในกระบวนการโอลิมปิกในประเทศไทย

โครงการ

1. สร้างโครงข่ายความร่วมมือกับสื่อมวลชนทางด้านกีฬา

1.1 แต่งตั้งตัวแทนสื่อมวลชนสายกีฬาทางด้านสื่อหนังสือพิมพ์ สื่อโทรทัศน์ สื่อ วิทยุ เป็นคณะอนุกรรมการงานประชาสัมพันธ์ ในฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ และประชาสัมพันธ์ของสถาบันวิทยาการโอลิมปิคไทย

2. สร้างความรู้ให้สื่อมวลชนในกิจกรรมของสถาบันวิทยาการโอลิมปิคไทย

2.1 ประสานงานเชิญสื่อมวลชนทางด้านกีฬา ส่งตัวแทนเข้าร่วมในกิจกรรมของสถาบันวิทยาการโอลิมปิคไทย ที่มีเนิ้อหาเกี่ยวข้องกับงานทางด้านสื่อมวลชน

3. สร้างความเข้าใจระหว่างสื่อมวลชนกับกระบวนการโอลิมปิกในประเทศไทย

3.1 จัดสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างสื่อมวลชนด้านกีฬากับบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการโอลิมปิกในประเทศไทย

4. เผยแพร่กิจกรรม ข่าวสารของคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทยฯ และสถาบันวิทยาการโอลิมปิคไทย โดยการจัดทำ “NOCT News”

5. จัดส่งข้อมูลข่าวสารกิจกรรมของ คณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทยฯ และสถาบันวิทยาการโอลิมปิคไทย ไปยัง IOA Journal และ Sporting Asia

6. ประสานงานการดำเนินกิจกรรมทางวิชาการกับ KISS และ JISS ซึ่ง NOCT ได้ทำ MOU กันไว้แล้ว

ฝ่ายวิชาการและวิจัย

เป้าหมาย

1. มีโครงการเพื่อเผยแพร่กระบวนการโอลิมปิกที่มีคุณภาพ และเป็นความต้องการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกโครงการ

2. มีโครงการที่เป็นความร่วมมือกับหน่วยงานที่ทำ MOU กับ NOCT และ TOA

3. เกิดการประสานความร่วมมือระหว่าง TOA และหน่วยงานอื่นในการบูรณาการโครงการ หรือหลักสูตรการอบรม, กิจกรรมเชิงบูรณาการมากขึ้น

กลยุทธ์

1. สร้างค่านิยมและเป้าหมายร่วมกันในการเผยแพร่กระบวนการโอลิมปิกสู่การปฏิบัติ

2. การพัฒนาโครงการและกิจกรรมเพื่อการเผยแพร่กระบวนการโอลิมปิกให้เป็น สากลนิยม ร่วมสมัย และทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน

3. ส่งเสริมการผลิตสื่อและเอกสารเพื่อเผยแพร่กระบวนการโอลิมปิก

4. การสร้างระบบติดตามและประเมินผล การปฏิบัติกิจกรรมบริการวิชาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

โครงการ

1.1 จัดอบรมแก่บุคลากร เพื่อเผยแพร่กระบวนการโอลิมปิก

1.1.1 โครงการอบรมผู้บริหารการกีฬา (Sport Administration Workshop)

1.1.2 โครงการอบรม Advanced Sport Management Courses (ASMC)

1.1.3 โครงการสัมมนาคณาจารย์ผู้สอนโอลิมปิกศึกษาในระดับอุดมศึกษา

1.1.4 โครงการสัมมนาอาสาสมัครของสถาบันวิทยาการโอลิมปิคไทย

1.2 จัดทำสื่อการสอนและสารสนเทศทางวิชาการเกี่ยวกับกระบวนการโอลิมปิกในประเทศไทย

1.2.1 โครงการจัดทำสื่อสารสนเทศเกี่ยวกับโอลิมปิกศึกษาสำหรับเยาวชนและประชาชน

1.2.2 โครงการรวบรวมและเรียบเรียงตำรา Sport Administration Manual

1.2.3 การรวบรวมและเรียบเรียงตำรา Managing Olympic Sport Organization (MOSO)

1.2.4 โครงการจัดทำคำศัพท์เกี่ยวกับโอลิมปิกศึกษาและกระบวนการโอลิมปิก

2.1 สร้างเครือข่ายการวิจัยด้านกระบวนการโอลิมปิกในประเทศไทย

2.1.1 จัดตั้งเครือข่ายการวิจัยกับศูนย์โอลิมปิกศึกษา (Olympic Study Center) ของแต่ละสถาบันการศึกษา

2.2 สร้างผลงานทางวิชาการเกี่ยวกับกระบวนการโอลิมปิกในประเทศไทย

2.2.1 จัดทำโครงการวิจัยประจำปีของสถาบันวิทยาการโอลิมปิคไทย อย่างน้อยปีละ 1 เรื่อง

2.2.2 ประสานการขอรับการสนับสนุนจาก Olympic Study Center จาก IOC และ OS เพื่อสนับสนุนงานวิจัยของ OSC ในประเทศไทย

3.1 สร้างงานวิจัยเชิงเปรียบเทียบกับประเทศในภูมิภาคอาเซียนเกี่ยวกับกระบวนการโอลิมปิก

3.1.1 โครงการวิจัย เรื่อง Development of Olympic Athlete Welfare ในระดับอาเซียน โดย  ประสานงานกับ กรรมาธิการฝ่ายนักกีฬาโอลิมปิก

3.1.2 จัดเวทีสัมมนา หรือค่ายเยาวชน เพื่อเผยแพร่กระบวนการโอลิมปิกในอาเซียน

3.1.3 จัดสัมมนาวิชาการเกี่ยวกับกระบวนการโอลิมปิกในระดับอาเซียน

3.1.4 จัดค่ายเยาวชนเกี่ยวกับกระบวนการโอลิมปิกในระดับอาเซียน